นกพงตั๊กแตนหางยาว Marsh Grassbird

Photographer : © Lars Petersson

 

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย การรายงาน สถานภาพตามฤดูกาล
Marsh Grassbird Helopsaltes pryeri นกพงตั๊กแตนหางยาว A V

นกพงตั๊กแตนหางยาว Marsh Grassbird

เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2019 ทีมนักวิจัยจาก สถานีวิจัยสัตว์ป่าบึงบอระเพ็ด โดยพบและใส่ห่วงขานกพงตั๊กแตนหางยาวได้ 1 ตัวบริเวณแหลมตาเส็ง บึงบอระเพ็ด จ.นครสวรรค์ นับเป็นรายงานแรกของนกชนิดนี้ทั้งในเมืองไทยและเอเซียตะวันออกเฉียงไต้ และเป็นรายงานที่สำคัญสำหรับนกที่มีแนวโน้มถูกคุกคามในระดับโลก
ผู้พบ : ณัฐพงศ์ จันทนะ ฉัตรกานต์ งามฉลวย ศักดิ์ชัย สนธิรักษ์ สุรศักดิ์ เขียวขำ และ กฤษราม ปั้นชูศรี

 

 

 

 

A : นกที่มีรายงานพบตามธรรมชาติในระยะ 50 ปีที่ผ่านมา

B : นกที่ไม่มีรายงานพบในธรรมชาติเป็นเวลาอย่างน้อย 50 ปี

C : นกต่างถิ่นที่ถูกนำเข้ามาในประเทศไทย และสามารถปรับตัวให้อาศัยและขยายพันธุ์ได้เองในธรรมชาติ

D : นกที่พบในธรรมชาติแต่อาจเป็นนกที่หลุดจากกรงเลี้ยง

E : นกที่มีรายงานพบในอดีต แต่อาจเป็นการจำแนกชนิดผิดพลาด

F : นกที่เป็นประชากรผสมข้ามสายพันธุ์ และยังไม่มีรายงานของประชากรที่มีลักษณะแท้ตามชนิดดั้งเดิม

 

สถานภาพตามฤดูกาลของนกแต่ละชนิด

R : นกประจำถิ่น

N : นกที่อพยพเข้ามาช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ (ฤดูหนาว)

B : นกที่อพยพเข้ามาทำรังวางไข่

P : นกอพยพผ่านช่วงฤดูใบไม้ผลิ และฤดูใบไม้ร่วง

V : นกพลัดหลง มีรายงานไม่เกิน 3 ครั้ง


ขอบคุณข้อมูลภาพถ่ายจาก https://ebird.org
ขอบคุณข้อมูลการกระจายพันธุ์และเสียงร้องจาก https://ebird.org

 

ใส่ความเห็น