นกพงขอบหางขาว Booted warbler

Photographer : © Roozbeh Gazdar
ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อไทย การรายงาน สถานภาพตามฤดูกาล
Booted warbler Iduna caligata นกพงขอบหางขาว A N

นกพงขอบหางขาว มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Iduna caligata คำว่า Iduna มาจากภาษาละตินคำว่า Iduna ซึ่งหมายถึง “ผู้ดูแล” ส่วนคำว่า caligata มาจากภาษาละตินคำว่า calx ซึ่งหมายถึง “ส้นเท้า”

ดังนั้น คำว่า Iduna caligata จึงหมายถึง “ผู้ดูแลที่มีส้นเท้า” ชื่อสามัญของนกชนิดนี้ มาจากลักษณะการเกาะพักที่มักเกาะที่บริเวณชายคาหรือผนังบ้าน โดยหันส้นเท้าเข้าหากัน

1

2

3

4

5
6
A : นกที่มีรายงานพบตามธรรมชาติในระยะ 50 ปีที่ผ่านมา

B : นกที่ไม่มีรายงานพบในธรรมชาติเป็นเวลาอย่างน้อย 50 ปี

C : นกต่างถิ่นที่ถูกนำเข้ามาในประเทศไทย และสามารถปรับตัวให้อาศัยและขยายพันธุ์ได้เองในธรรมชาติ

D : นกที่พบในธรรมชาติแต่อาจเป็นนกที่หลุดจากกรงเลี้ยง

E : นกที่มีรายงานพบในอดีต แต่อาจเป็นการจำแนกชนิดผิดพลาด

F : นกที่เป็นประชากรผสมข้ามสายพันธุ์ และยังไม่มีรายงานของประชากรที่มีลักษณะแท้ตามชนิดดั้งเดิม

 

สถานภาพตามฤดูกาลของนกแต่ละชนิด

R : นกประจำถิ่น

N : นกที่อพยพเข้ามาช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ (ฤดูหนาว)

B : นกที่อพยพเข้ามาทำรังวางไข่

P : นกอพยพผ่านช่วงฤดูใบไม้ผลิ และฤดูใบไม้ร่วง

V : นกพลัดหลง มีรายงานไม่เกิน 3 ครั้ง


ขอบคุณข้อมูลภาพถ่ายจาก https://ebird.org
ขอบคุณข้อมูลการกระจายพันธุ์และเสียงร้องจาก https://ebird.org

 

 

นกพงขอบหางขาว (Booted Warbler) มีถิ่นทำรังวางไข่ตั้งแต่ตะวันออกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ คาซัคสถาน ตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของรัสเซีย แถบตะวันตกเฉียงเหนือของจีน จนถึงทางตะวันตกของมองโกเลีย ส่วนในฤดูหนาวประชากรเกือบทั้งหมดอพยพลงใต้ไปยังแถบประเทศอินเดีย ทำให้เป็นนกอพยพที่พบได้บ่อยในอินเดีย แต่สำหรับประเทศไทย นกพงขอบหางขาว (Booted Warbler) มีสถานะเป็นเพียงนกพลัดหลงเข้ามาในช่วงฤดูหนาว ปัจจุบันมีรายงานการพบนกชนิดนี้เพียงสี่ครั้งในประเทศไทย รายงานแรกพบในบริเวณนาเกลือ ต.คลองตำหรุ จ.ชลบรี ในช่วงต้นปี 2561 รายงานที่สองพบในทุ่งท่างอยริมเขื่อนลำตะคอง จ.นครราชสีมา ในช่วงต้นปี 2561 เช่นกัน ส่วนรายงานที่สามพบระยะสั้นๆในเมืองลำปางช่วงเดือนเมษยน 2563 คาดว่าน่าจะเป็นนกที่แวะพักระหว่างอพยพขากลับ และนกตัวนี้เป็นรายงานที่สี่พบในทุ่งนา ต.บ่อกระดาน อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี ในเดือนกุมภาพันธุ์ พ.ศ. 2564

ขอบคุณบทความจาก https://www.facebook.com/BirdsOfThailandByUNOHO

ประเภทการรายงานของนกแต่ละชนิด

A : นกที่มีรายงานพบตามธรรมชาติในระยะ 50 ปีที่ผ่านมา

B : นกที่ไม่มีรายงานพบในธรรมชาติเป็นเวลาอย่างน้อย 50 ปี

C : นกต่างถิ่นที่ถูกนำเข้ามาในประเทศไทย และสามารถปรับตัวให้อาศัยและขยายพันธุ์ได้เองในธรรมชาติ

D : นกที่พบในธรรมชาติแต่อาจเป็นนกที่หลุดจากกรงเลี้ยง

E : นกที่มีรายงานพบในอดีต แต่อาจเป็นการจำแนกชนิดผิดพลาด

F : นกที่เป็นประชากรผสมข้ามสายพันธุ์ และยังไม่มีรายงานของประชากรที่มีลักษณะแท้ตามชนิดดั้งเดิม

 

สถานภาพตามฤดูกาลของนกแต่ละชนิด

R : นกประจำถิ่น

N : นกที่อพยพเข้ามาช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ (ฤดูหนาว)

B : นกที่อพยพเข้ามาทำรังวางไข่

P : นกอพยพผ่านช่วงฤดูใบไม้ผลิ และฤดูใบไม้ร่วง

V : นกพลัดหลง มีรายงานไม่เกิน 3 ครั้ง

ขอบคุณข้อมูลภาพถ่ายจาก
http://www.orientalbirdimages.org
https://ebird.org

About The Author

More From Author

Leave a Reply

เนื้อหาน่าสนใจ